วันพุธที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2558

Arduino Note 11/3/15

Arduino Note 11/3/15
                 

จากการอ่านเรื่องmotorสรุปได้ว่า

        Motor คือ อุปกรณ์ไฟฟ้าที่เปลี่ยนฟลังงงานไฟฟ้าเป้นพลังงานกล มีหลักการทำงานคือการใช้ขดลวดเหนี่ยวนำทำให้เกิดสนามแม่เหล็กไฟฟ้าขึ้น และเกิดแรกผลัก-ดูด ของสนามแม่เหล้ก ซึ่งเราสามารถสร้างรูปแบบของแรงที่เกิดจากmotorได้ออกมา2แบบคือ 1.Linear fore และ 2.Toque
        Motorมีมากมายหลายชนิด ส่วนใหญ่ที่เราเห็นและพบกันบ่อยๆจะเป้นmotorที่ให้รูปแบบแรงแบบtoque หรือแบบหมุนนั่นเอง เช่น พัดลม เครื่องดูดฝุ่น เครื่องปั่น-บด-ผสมอาหาร เป็นต้น
       แต่motorยังมีอีกมากมายหลายชนิดถ้าจำแนกตามประเภทไฟฟ้าที่จ่ายเข้าไปก้ได้2แบบ คือDC motor และ AC motor

DC motor คือ
          motorที่รับไฟฟ้ากระเเสตรง สามารถควบคุมความเร็วได้ง่าย และเมื่อต้องการสับเปลี่ยนทิศทางการหมุนสามารทำได้ง่ายๆโดยการสับเปลี่ยนขั้วไฟเท่านั้น การหมุนจะถูกสับเปลี่ยนทันที

AC motor คือ
          motorที่ใช้ไฟฟ้ากระแสสลับ เราแบ่งAC motorได้เป้น2แบบ Synchronous และAsynchronous 
            1.Asynchronous  มีความสามารในการสร้างspeedได้คงที่กว่าDC motor มีประสิทธิภาพที่สูงกว่า อีกทั้งยังราคาถูกกว่าด้วย แต่มีข้อจำกัดด้านการควบคุมระยะการหมุนที่แม่นยำ และในช่วงเริ่มต้นการทำงาน AC motorจะมีประสิทธิภาพต่ำ  สว่นใหญ่ใช้ในเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน (เครื่องมือที่ตั้งอยุ่กับที่ เช่นสว่านแท่นเป็นต้น)

     2.Synchronous เป้นAC motorที่มีประสิทธิภาพสูงความเร็วคงที่หรือปรับได้ มีเสียงรบกวนต่ำเช่นHysteresis motor

Motorแบบอื่นๆ
         
           servo motor =>คือmotorที่มีความสารมารถในการควบคุมความเร็วรอบและtorqueได้ มี

ทั้งแบบใช้ไฟกระแสตรง(DC) และไฟฟ้ากระแสสลับ(AC) 
            
            stepper motor=>คือmotorที่มีความแม่นยำในการหมุน โดยโรเตอร์ของแม่เหล็กจะ

ประกอบด้วยแม่เหล้กถาวร ซึ่งทำให้มันสามารหมุนได้อย่างเป้นstepคือ หมุนแล้วหยุด หมุนแล้ว

หยุด เราสามารถควบคุมมันได้ด้วยวงจรอิเล้กรอนิกส์ ซึ่งทำให้มันสามารถหมุนและเปลี่ยนทิศทาง

หรือหยุดพัก และหมุนต่อไปได้อย่างแม่นยำ นอกจากนี้ยังสามารถควบคุมแรงละรอบได้ด้วย ซึ่ง

ความสามารถเหล่านี้ของstepper motor ได้มาจากรูปแบบของservoนั่นเอง ใช้มากในเครืองจักที่

ต้องการความแม่นยำสูง เช่นCNC  , Hard disk เป็นต้น



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น